หน้าเว็บ

วันพุธที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2558

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

4.1 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

          ในชีวิตประจำวันเรามักพบ สิ่งที่มีความเกี่ยวข้องกันอยู่เสมอ เช่น สินค้ากับราคาของสินค้า คนไทยทุกคนจะต้องมีเลขประจำตัวประชาชนเป็นของตนเอง ตัวอย่างที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างที่...อ่านต่อ
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

4.2 ฟังก์ชันเชิงเส้น

          ฟังก์ชันเชิงเส้น n ตัวแปรมีรูปทั่วไป คือ y = a1x1 + a2x2 + a3x3 + … + anxn  ซึ่งในระดับชั้นนี้เราจะพิจารณาฟังก์ชันที่เขียนอยู่ในรูป...อ่านต่อ
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

4.3 ฟังก์ชันกำลังสอง

          ฟังก์ชันกำลังสอง คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ และ a 0 ลักษณะของกราฟของฟังก์ชันขึ้นอยู่...อ่านต่อ



หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : จำนวนจริง

3.1 จำนวนจริง

         มนุษย์รู้จักการใช้จำนวน มาตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์โดยใช้ก้อนหินหรือใช้รอยบากบนต้นไม้แสดงจำนวนสัตว์ เลี้ยง กล่าวได้ว่าจำนวนชนิดแรกที่มนุษย์รู้จักคือจำนวนนับ ต่อมา ภายหลังเมื่อโลกมีการพัฒนา...อ่านต่อ
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

3.2 สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ

          สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ มีดังนี้
     1) สมบัติปิด
     2) สมบัติการสลับที่
     3) สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม...อ่านต่อ


หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : การให้เหตุผล

2.1 การให้เหตุผลแบบอุปนัย

          การให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นวิธีการสรุปผลมาจากการค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือการทดลองหลายครั้งจากกรณีย่อยๆ แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป  การหาข้อสรุปหรือความจริงโดยใช้วิธีการให้เหตุผลแบบอุปนัยนั้น  ไม่จำเป็นต้องถูกต้องทุกครั้ง...อ่านต่อ
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

2.2 การให้เหตุผลแบบนิรนัย

          การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผล...อ่านต่อ


หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เซต

1.1 เซต

          ใช้แทนกลุ่มของคน,สัตว์,สิ่งของ หรือสิ่งที่เราสนใจ เราใช้เครื่องหมายปีกกา “{ } ” แสดงความเป็นเซต และสิ่งที่อยู่ภายในปีกกา  เราเรียกสมาชิกของเซต...อ่านต่อ
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

1.2 สับเซตและพาวเวอร์เซต

     1) เซต
          ถ้าสมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B แล้ว จะเรียกว่า A เป็นสับเซตของ B จะเขียน เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A B...อ่านต่อ
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

     2) พาวเวอร์เซต
          คำว่า เพาเวอร์เซต เป็นคำศัพท์เฉพาะ ซึ่งใช้เป็นชื่อเรียกเซตเซตหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่องสับเซต
เพาเวอร์เซตของ A เขียนแทนด้วย P(A)...อ่านต่อ